โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องมะขามกวนบ้านนางั่ว
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องมะขามกวนบ้านนางั่ว
บันทึกนี้เขียนโดย ครูวิมลรัตน์ กาญจนโพธิ์ เมื่อ Tue Feb 22 2011 15:54:10 GMT+0700 (+07)
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
เรื่อง มะขามกวน
(ต.นางั่ว)
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวณิชา ชาติเสนา ม.3/5 เลขที่ 5
2.เด็กหญิงภารดี ศรีเมือง ม.3/5 เลขที่ 15
3.เด็กหญิงเสาลักษณ์ แดงดี ม.3/5 เลขที่ 29
1.)ประวัติความเป็นมา
เจ้าของร้านชื่อ ย่าลอย แดงดี อายุ 63 ปี
ที่อยู่ 153 หมู่ 3 ต.นางงั่ว อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000 .
คุณ ย่าได้เริ่มตั้งกลุ่มเมื่อปี พ.ศ. 2542 และดำเนินการจริงจังเมื่อปี 2543 คุณย่าได้ได้แนะคิดมาจากเทศกาลสาระไทย ก็นำมาเปลี่ยนแปลงรสชาติคุณย่าพอใจในสูตรที่คิด พอได้สูตรก็ชวนเพื่อนบ้านมาช่วยกันจนได้ จึงเป็นผลิตกลุ่ม แม่บ้านนาร่วมใจ นอกจากมะขามกวน ก็ยังมีขอดีอีกอย่างหนึ่งคือกระยาสารท ในการสร้างภูมิปัญญา
2.)วัสดุอุปกรณ์
1.กระทะ
2.ไม้พาย
3.เตา
4.หม้อ
5.กระละมัง
6.ถ่าง
3.)วัตถุดิบ
1.เนื้อมะขามเปรี้ยวสุกสับละเอียด
2.หัวกะทิ
3.แบะแซ
4.น้ำ
5.ตาลทราย
6.นมข้นหวาน
7.เกลือป่นเล็กน้อย
4.)ขั้นตอนการผลิต
ผสมหัวกะทิ น้ำตาลทราย แบะแซ เคี่ยวพอกะทิแตกมันใส่มะขามสับ เกลือป่น มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย นมข้นหวานกวนให้ส่วนผสมเหนียวและงวดลงขนาดพอปั้นได้ ยกลงรอให้เย็นปั้นเป็นแท่งห่อด้วยพลาสติกใส จะเก็บไว้ได้นาน
5.)การจัดจำหน่วย
1 ห่อ มี 5 ชิ้น ราคา 35 บาท
1 ห่อเล็ก มี 4 ชิ้น ราคา 25 บาท
1 แท่ง มี 1 ชิ้น ราคา 7 บาท
6.)คุณประโยชน์ทางโภชนาการ
มะขามกวนมีส่วนประกอบของน้ำตาล หัวกะทิ เนื้อมะพร้าวและนมข้นหวานซึ่งเป็นอาหารที่ให้สาร อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรทให้พลังงาน มะขามเปรี้ยวมีสารที่ช่วยระบายท้อง มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายอ่อน ๆ จึง ช่วยการทำงานของระบบขับถ่าย ปัจจุบันชาวบ้านจึงนำมะขามเปรี้ยวมาแปรรูปเป็นมะขามกวน ผลิตภัณฑ์ที่ ได้มีรสแปลกไปจากเดิม รสชาติอร่อย เป็นที่ชื่นชอบ ของผู้บริโภค ปัจจุบันมะขามกวนเป็นสินค้าของฝากพื้น เมืองที่ทำรายได้ให้กับผู้ผลิตไม่น้อยไปกว่ามะขามหวาน
7.)ความประสบความสำเร็จ
ก็มีลูกค้ามาเยี่ยมชมสิค้ากันมากมายจนทำให้ทุกคนได้ชิมของที่ผลิตขาย จนคุณย่าได้รายได้ จนทุกๆวันนี้ มีเงินใช้และมีลูกค้ามาติดต่อไม่ขาด ก็มีบางลูกค้าที่ติชมบ้าง
8.)วิธีพัฒนาคุณภาพชีวิต
เราได้พัฒนามะขามกวนขึ้นเรื่อยๆ ครั้งแรกแรกก็เป็นมะขามกวนธรรมดาและได้พัฒนามาเป็นมะขามกวน
9.)คติ/คุณธรรม/แรงบันดาลใจให้งานประสบความสำเร็จ
การที่จะพูดกับลูกค้าจะต้องพูดกับลูกแบบดีดี
ระบบแนะนำ
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
เรื่อง มะขามกวน
(ต.นางั่ว)
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวณิชา ชาติเสนา ม.3/5 เลขที่ 5
2.เด็กหญิงภารดี ศรีเมือง ม.3/5 เลขที่ 15
3.เด็กหญิงเสาลักษณ์ แดงดี ม.3/5 เลขที่ 29
1.)ประวัติความเป็นมา
เจ้าของร้านชื่อ ย่าลอย แดงดี อายุ 63 ปี
ที่อยู่ 153 หมู่ 3 ต.นางงั่ว อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000 .
คุณ ย่าได้เริ่มตั้งกลุ่มเมื่อปี พ.ศ. 2542 และดำเนินการจริงจังเมื่อปี 2543 คุณย่าได้ได้แนะคิดมาจากเทศกาลสาระไทย ก็นำมาเปลี่ยนแปลงรสชาติคุณย่าพอใจในสูตรที่คิด พอได้สูตรก็ชวนเพื่อนบ้านมาช่วยกันจนได้ จึงเป็นผลิตกลุ่ม แม่บ้านนาร่วมใจ นอกจากมะขามกวน ก็ยังมีขอดีอีกอย่างหนึ่งคือกระยาสารท ในการสร้างภูมิปัญญา
2.)วัสดุอุปกรณ์
1.กระทะ
2.ไม้พาย
3.เตา
4.หม้อ
5.กระละมัง
6.ถ่าง
3.)วัตถุดิบ
1.เนื้อมะขามเปรี้ยวสุกสับละเอียด
2.หัวกะทิ
3.แบะแซ
4.น้ำ
5.ตาลทราย
6.นมข้นหวาน
7.เกลือป่นเล็กน้อย
4.)ขั้นตอนการผลิต
ผสมหัวกะทิ น้ำตาลทราย แบะแซ เคี่ยวพอกะทิแตกมันใส่มะขามสับ เกลือป่น มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย นมข้นหวานกวนให้ส่วนผสมเหนียวและงวดลงขนาดพอปั้นได้ ยกลงรอให้เย็นปั้นเป็นแท่งห่อด้วยพลาสติกใส จะเก็บไว้ได้นาน
5.)การจัดจำหน่วย
1 ห่อ มี 5 ชิ้น ราคา 35 บาท
1 ห่อเล็ก มี 4 ชิ้น ราคา 25 บาท
1 แท่ง มี 1 ชิ้น ราคา 7 บาท
6.)คุณประโยชน์ทางโภชนาการ
มะขามกวนมีส่วนประกอบของน้ำตาล หัวกะทิ เนื้อมะพร้าวและนมข้นหวานซึ่งเป็นอาหารที่ให้สาร อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรทให้พลังงาน มะขามเปรี้ยวมีสารที่ช่วยระบายท้อง มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายอ่อน ๆ จึง ช่วยการทำงานของระบบขับถ่าย ปัจจุบันชาวบ้านจึงนำมะขามเปรี้ยวมาแปรรูปเป็นมะขามกวน ผลิตภัณฑ์ที่ ได้มีรสแปลกไปจากเดิม รสชาติอร่อย เป็นที่ชื่นชอบ ของผู้บริโภค ปัจจุบันมะขามกวนเป็นสินค้าของฝากพื้น เมืองที่ทำรายได้ให้กับผู้ผลิตไม่น้อยไปกว่ามะขามหวาน
7.)ความประสบความสำเร็จ
ก็มีลูกค้ามาเยี่ยมชมสิค้ากันมากมายจนทำให้ทุกคนได้ชิมของที่ผลิตขาย จนคุณย่าได้รายได้ จนทุกๆวันนี้ มีเงินใช้และมีลูกค้ามาติดต่อไม่ขาด ก็มีบางลูกค้าที่ติชมบ้าง
8.)วิธีพัฒนาคุณภาพชีวิต
เราได้พัฒนามะขามกวนขึ้นเรื่อยๆ ครั้งแรกแรกก็เป็นมะขามกวนธรรมดาและได้พัฒนามาเป็นมะขามกวน
9.)คติ/คุณธรรม/แรงบันดาลใจให้งานประสบความสำเร็จ
การที่จะพูดกับลูกค้าจะต้องพูดกับลูกแบบดีดี